Psychological Report Writing
(การเขียนรายงานทางจิตวิทยาคลินิก)

  • ความรู้พื้นฐาน วัตถุประสงค์ องค์ประกอบ บทบาท ความสำคัญ และข้อจำกัดของการตรวจวินิจฉัยฯ
  • เครื่องมือการตรวจวินิจฉัยทางจิตวิทยาคลินิก และการเลือกเครื่องมือฯ
  • กระบวนการการตรวจวินิจฉัยฯ
  • หลักการแปลผลตามมาตรฐานเครื่องมือเพื่อการวินิจฉัยและวางแผนบำบัดรักษา
  • องค์ประกอบของรายงาน และการเขียนรายงาน
  • อุปสรรค ปัญหา และข้อควรระวังในการเขียนรายงาน
  • การฝึกปฏิบัติ การพัฒนาทักษะการเขียนรายงาน
  • หลักสูตรเร่งรัด 3 วัน (18 ชั่วโมง) และ
    หลักสูตรเพื่อการพัฒนาต่อเนื่อง 6 สัปดาห์ (วันเสาร์บ่าย) 28 ชั่วโมง
  • ค่าธรรมเนียมการฝึกอบรม 4,500 -5,000 บาท
  • เรียนรู้แบบกลุ่มเล็ก ไม่เกิน 10 คน
  • หลักสูตรได้รับการรับรอง การศึกษาต่อเนื่องสาขาจิตวิทยาคลินิก จากกองประกอบโรคศิลปะ

Intensive Course (วันพุธ-วันศุกร์)

รุ่นที่ 1: วันที่ 5-7 มีนาคม 2568
รุ่นที่ 2: วันที่ 11-13 มิถุนายน 2568

Weekly Course (วันเสาร์บ่าย + พิเศษ)

มิถุนายน – กรกฎาคม (7, 14, 21, 28 มิย., 5, 19 กค.)
(วันเสาร์บ่าย 6 สัปดาห์ และ การสอนรายบุคคล 5 วัน วันละ 2 ชั่วโมง ตามการนัดหมาย)

ความเหมือนและความแตกต่างของสองหลักสูตร (สรุปสั้นๆ จากผู้พัฒนาหลักสูตร)
“ทั้งสองหลักสูตร จะเน้นการเขียนรายงานผลทางจิตวิทยาคลินิกแบบเต็ม
เป็น Full Psychological Report ที่มีข้อมูลมาจากการตรวจวินิจฉัย (Psychological Evaluation)
โดยจะเน้นการให้ความสำคัญขององค์ประกอบต่างๆ ที่สำคัญ นอกเหนือไปจากผลจากการทดสอบ (Assessment) แต่จำเป็นต้องมีอยู่ในรายงาน
ในส่วนของผลจากการประเมินโดยเครื่องมือ จะเน้น การตรวจฯ โดยอยู่บนพื้นฐานของ Test Battery สำหรับใช้กันในประเทศไทย อันรวมถึง Wechsler’s test, Projective Drawing Tests, Projective Test for Psychopathology (Rorschach), และ 1 Objective Test
แต่ในการเรียนการสอนจริง อาจจะละ Objective test ไว้
สำหรับหลักสูตร 3 วัน เนื่องจากมีเวลาจำกัด จึงจะเน้นตามมาตรฐานการเขียนในแต่ละส่วนและการประมวลผล
สำหรับหลักสูตรรายสัปดาห์ 6 วัน มีการบ้านในเกือบทุกสัปดาห์ เพื่อฝึกคิด ฝึกเรียบเรียบข้อมูล และฝึกเขียนรายงานในแต่ละส่วน
***มีการดูแล/สอนแบบส่วนตัว รายบุคคลสำหรับรายงานการทดสอบจริง 5 วัน วันละ 2 ชั่วโมง ***

หากท่านใด ยังไม่แข็งแรงเรื่องการสัมภาษณ์เชิงคลินิก และยังไม่แน่นเรื่องความรู้เรื่องโรค ขอแนะนำให้ลงเรียนสองวิชานั้นก่อนนะคะ จะช่วยให้เรียนหลักสูตรการเขียน(รวมถึงหลักสูตรบำบัด) เป็นไปได้ราบรื่นมากขึ้นค่ะ”

สอบถามเกี่ยวกับหลักสูตร หนังสือถึงต้นสังกัด การจองที่นั่ง และการยื่นใบสมัคร
โปรดติดต่อ training@smalltreepsychology.com หรือ แอดไลน์